บทความ: คาร์บอนเครดิตหยุดความยากจนและการขยายพื้นที่ป่าเพื่อทำเกษตรกรรมได้อย่างไร?
การเปลี่ยนพื้นที่ป่าเป็นพื้นที่เกษตรกรรม นับเป็นภัยคุกคามที่สำคัญต่อการสูญเสียป่าไม้ และส่งผลอย่างรุนแรงต่อสภาพภูมิอากาศและความหลากหลายทางชีวภาพ ระหว่างปี 2544-2562
การเปลี่ยนพื้นที่ป่าเป็นพื้นที่เกษตรกรรม นับเป็นภัยคุกคามที่สำคัญต่อการสูญเสียป่าไม้ และส่งผลอย่างรุนแรงต่อสภาพภูมิอากาศและความหลากหลายทางชีวภาพ ระหว่างปี 2544-2562
มาร่วมค้นหาความหมายและทบทวนความสัมพันธ์ระหว่าง “คน” กับ “ป่า” ผ่าน 4 โซนกิจกรรมสุดสร้างสรรค์และการละเล่นใกล้ชิดธรรมชาติแสนสนุก เติมเต็มรอยยิ้มอย่างอิ่มเอม พร้อมอิ่มอร่อยกับร้านค้าร้านอาหารวัฒนธรรมชนเผ่า ท่ามกลางสายลมหนาว ทิวเขา และม่านหมอก ในเทศกาลประจำปี “สีสันแห่งดอยตุง ครั้งที่ 9”
มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นที่รู้จักในเวทีนานาชาติด้านการทำงานพัฒนาทางเลือกเพื่อแก้ปัญหายาเสพติด ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ที่เปลี่ยนวิถีชีวิตชาวบ้านจากการปลูกฝิ่นมาเป็นการประกอบอาชีพสุจริต
เดินหน้าเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพ “โครงการจัดการคาร์บอนเครดิตในป่าเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในทุกมิติ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ และแบรนด์ธุรกิจเพื่อสังคมดอยตุง (DoiTung) ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการประชุมความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ครั้งที่ 29 หรือ APEC 2022 Thailand
มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ คณะผู้แทนของประเทศไทยได้เข้าร่วมการประชุมรัฐสภากรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 27 หรือ COP27
เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือ “สมเด็จย่า” 21 ตุลาคม ปีที่ 122
ร่วมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของ “สมเด็จย่า” กับนิทรรศการ “คิดถึง…สมเด็จย่า ครั้งที่ 25 และ 50 ปี มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ” ระหว่างวันที่ 14-24 ตุลาคม 2565 ณ แฟชั่น ฮอลล์ ชั้น 1 สยามพารากอน