โครงการต้นแบบ

แนวทางการแก้ปัญหาจากธรรมชาติ

มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ ผสานพลังธรรมชาติและชุมชนเพื่อสร้างความยั่งยืน ฟื้นฟูระบบนิเวศ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต และบรรเทาผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผ่านการอนุรักษ์ที่เชื่อมโยงภูมิปัญญาท้องถิ่นกับนวัตกรรม เพื่อให้ธรรมชาติและมนุษย์อยู่ร่วมกันได้อย่างสมดุล

ที่ปรึกษาด้านความยั่งยืน

มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ เป็นพันธมิตรในการนำแนวทางความยั่งยืนสู่การปฏิบัติจริง สร้างผลกระทบเชิงบวกทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้วยประสบการณ์กว่า 40 ปีในการพัฒนาที่ยั่งยืน มูลนิธิฯ นำเสนอโซลูชั่นเชิงปฏิบัติให้กับองค์กรต่างๆ เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายด้านความยั่งยืนอย่างวัดผลได้

โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

โครงการพัฒนาดอยตุงฯ เริ่ม ‘ปลูกคน’ ด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนในพื้นที่ให้ดีขึ้นอย่างเป็นขั้นเป็นตอน บนความเชื่อสำคัญที่ว่า หากสร้างหนทางให้ชาวบ้านหลุดพ้นจากวงจร ‘ความเจ็บป่วย ความยากจน และความไม่รู้’

อุทยานศิลปะวัฒนธรรมแม่ฟ้าหลวง

อุทยานศิลปะวัฒนธรรมแม่ฟ้าหลวงริเริ่มโครงการผู้นำเยาวชนชาวเขา (Hill Tribe Youth Leadership) ระหว่าง พ.ศ. 2522 – พ.ศ. 2528 เพื่อสนับสนุนการศึกษาของเยาวชนชาวเขาจากถิ่นห่างไกลที่การศึกษายังเข้าไม่สามารถเข้าถึง

โครงการขยายผล

Development Projects

เพื่อการพัฒนาที่ครอบคลุมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยยึดคนเป็นศูนย์กลาง และทำงานเพื่อตอบโจทย์การแก้ปัญหาของพื้นที่นั้น ๆ

ผลกระทบที่เราสร้าง (Impact)

“อยู่ร่วมกับป่าอย่างยั่งยืน”

มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ เชื่อว่า ธรรมชาติและมนุษย์สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสมดุล เป้าหมายของเราคือการสร้างระบบนิเวศที่ทุกชีวิตพึ่งพากันได้อย่างยั่งยืน ซึ่งสะท้อนผ่านการดำเนินงานใน 2 ด้านหลัก ได้แก่ สิ่งแวดล้อม และ ชุมชน

ด้านชุมชน

Community Income 
in Doi Tung Development Areas

รายได้ของคนในพื้นที่
โครงการพัฒนาดอยตุงฯ

รวมทั้งหมด

1,146,000,000 บาท
Youth Development Opportunities

สร้างโอกาสพัฒนาเยาวชนในพื้นที่โครงการพัฒนาต่างๆ

จำนวน

3,109 คน
Participants in Training and Study Visits

ผู้เข้าร่วมหลักสูตรอบรมและศึกษาดูงานในพื้นที่โครงการพัฒนาต่างๆ

จำนวน

4,909 คน
Direct Income from Livelihood Initiatives

รายได้ทางตรงที่เกิดจากการส่งเสริมอาชีพในพื้นที่โครงการพัฒนาต่างๆ

รวมทั้งหมด

531,388,163 บาท

ดอยตุง

231,582,423 บาท

พม่า

185,970,000 บาท

ร้อยใจรักษ์

78,213,347 บาท

ชาน้ำมัน

28,259,028 บาท

น่าน

7,363,365 บาท

ด้านสิ่งแวดล้อม

Greenhouse Gas Emissions

ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

จำนวน

11,707 tCO2eq

ขยะในโครงการพัฒนาทั้งหมดที่ไม่ไปสู่บ่อฝังกลบ

จำนวน

295,696 กก. (296 ตัน)

สถิติการเกิดไฟป่าในพื้นที่โครงงาน

ทั้งหมด

9.31 %

ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุงฯ

พื้นที่ป่ารวมโครงการ

4.25 แสนไร่

พันธ์ไม้ชนิดใหม่

16 ชนิด

ชนิดสัตว์ในพื้นที่

921 ชนิด